คลินิกกฎหมายด้านแรงงาน (27): สิบประเด็นสิทธิแรงงานที่ท้าทายในรอบปี 2564

หากมีการจ้างก็ต้องถือว่า เป็นการจ้างแบบไม่มีกำหนดระยะเวลา เมื่อมีการ     เลิกจ้าง หรือไม่ต่ออายุสัญญา นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชย  โดยนับรวมระยะเวลาการทำงานทั้งหมด ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า หรือจ่ายค่าจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามกฎหมาย และอาจเข้าข่ายการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 49 อีกด้วย

ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ กับชนชั้นแรงงาน

ตลอดชีวิตของอาจารย์ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ แม้ว่าตัวท่านจะเกิดมาและมีชีวิตอยู่ในแวดวงของชนชั้นผู้มีอภิสิทธิ์ในสังคมไทย แต่ท่านกลับยอมทำงานเหนื่อยเพื่อให้คนจนและคนที่เสียเปรียบในสังคมไทยได้รับความเป็นธรรม ซึ่งช่วงหนึ่งในชีวิตของท่านก็ได้สร้างคุณูปการให้แก่ชนชั้นแรงงานที่เป็นส่วนหนึ่งของคนที่เสียเปรียบในสังคมนี้

พลิกชีวิตแรงงาน หลังวิกฤติโควิด การฟื้นฟูต้องพัฒนาคนเพื่อสร้างงาน สร้างรายได้

พัฒนาฝีมือแรงงาน ฟื้นฟูด้วยเศรษฐกิจ การสร้างคน และสร้างงาน เพื่อให้มีรายได้เพียงพอ พร้อมแนวคิดการสร้างสวัสดิการสังคมที่มารองรับยามวิกฤติในอนาคต

คลินิกกฎหมายด้านแรงงาน (25) สิทธิแรงงานในภาวะวิกฤติโรคโควิด –19

คลินิกกฎหมายด้านแรงงานตอนที่ 23 และ 24 เราเพิ่งคุยกันเรื่องสิทธิแรงงานในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ เนื่องจากธุรกิจและสถานประกอบการต่าง ๆ มีการปรับเปลี่ยน สภาพการจ้าง ลดค่าจ้าง สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ รูปแบบการจ้างงาน  การหยุดกิจการชั่วคราว ตลอดจนการเลิกจ้าง โดยอ้างสภาวะทางเศรษฐกิจ โควิด-19

1 2 3 4 15