คลินิกกฎหมายด้านแรงงาน (28) : สิบประเด็นสิทธิแรงงานที่ท้าทายในรอบปี 2564

กรณีที่ลูกจ้างใช้สิทธิตามกฎหมายเพื่อรับเงินชดเชยกรณีเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด และได้รับเงินชดเชยตามกฎหมายแล้ว   ก็ยังคงมีสิทธิโดยสมบูรณ์ในการใช้สิทธิทางศาลฟ้องคดีเรื่องการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 49

คลินิกกฎหมายด้านแรงงาน (27): สิบประเด็นสิทธิแรงงานที่ท้าทายในรอบปี 2564

หากมีการจ้างก็ต้องถือว่า เป็นการจ้างแบบไม่มีกำหนดระยะเวลา เมื่อมีการ     เลิกจ้าง หรือไม่ต่ออายุสัญญา นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชย  โดยนับรวมระยะเวลาการทำงานทั้งหมด ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า หรือจ่ายค่าจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามกฎหมาย และอาจเข้าข่ายการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 49 อีกด้วย

แรงงานปริทัศน์ ฉบับที่ 410 เดือนมกราคม 2565

แรงงานปริทัศน์ออนไลน์ ฉบับที่ 63 (410) ประจำเดือนมกราคม 2565 ในเดือนแรกของปีใหม่นี้ “คลินิกกฎหมายด้านแรงงาน” โดยทนายความ ชฤทธิ์ มีสิทธิ์ ด้วยการสรุปสิบประเด็นสิทธิแรงงานที่ท้าทายในรอบปี 2564 ที่เพิ่งผ่านไป รยงานพิเศษฉบับนี้เป็นเคลื่อนไหวเรียกร้องให้ปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำให้ทันค่าครองชีพ และให้ควบคุมราคาสินค้าที่ตอนนี้ปรับขึ้นทุกวัน ต่อด้วยสถิติแรงงานไทยในต่างประเทศปี 2564 ทั้งจำนวน และรายได้ที่ส่งกลับ รายงานข่าวอย่างมติครม.เรื่องสิทธิการลาคลอด 98 วัน และผู้ชายลาเลี้ยงดูบุตรได้ 15 วัน

แรงงานปริทัศน์ ฉบับที่ 409 เดือนธันวาคม 2564

แรงงานปริทัศน์ออนไลน์ ฉบับที่ 62 (409) ประจำเดือนธันวาคม 2564 มีรายงานและบทความที่น่าสนใจ ผ่านมุมมอง การเมื่องของแรงงาน อย่างรายงานพิเศษ“แนวคิดในการทำงานการเมือง สู่เป้าหมายร่วมด้านแรงงาน” และบทความตอนจบของอาจารย์ โชคชัย สุทธาเวศ และยังมีรายงานสถานการณ์ การเรียกร้องของแรงงาน สภาพปัญหาแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยในช่วงของการระบาดของโควิด-19 รวมสถิติแรงงานที่เป็นปัจจุบันด้วย

1 2 3 4 5 66