ขยายอายุการทำงานและฐานค่าจ้าง กับ อนาคตบำนาญผู้ประกันตน ?

ปัจจุบันกว่า 94% ของประเทศทั่วโลก กำหนดอายุรับบำนาญขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 60 ปี ส่วนประเทศสมาชิกองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา หรือ OECD ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ได้กำหนดอายุเกษียณอยู่ระหว่าง 60-67 ปี ซึ่งความแตกต่างของอายุเกษียณระหว่างประเทศสมาชิกมีแนวโน้มลดลง การปรับเพิ่มอายุเกษียณของประเทศเหล่านี้มักทำแบบค่อยเป็นค่อยไป ขณะที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งไทย อายุเกษียณอยู่ในช่วง 55-60 ปี

คลินิกกฎหมายด้านแรงงาน (๒)

“กฎหมายเพื่อชีวิต” ตอนนี้เป็นตอนที่ ๒ คลินิกกฎหมายด้านแรงงาน เราจะคุยกันเรื่องสุขภาพของลูกจ้างหรือคนทำงาน ในประเด็นสุขภาพ ก็มีบัญญัติไว้ในกฎหมายด้านแรงงานหลายฉบับ ซึ่งเราท่านทั้งหลายควรจะได้เรียนรู้และมองเห็นประเด็นสุขภาพของคนทำงานในภาพรวม ช่วยกันสะท้อน ช่วยกันคิด ช่วยกันหาทางออกนะครับ

คลินิกกฎหมายด้านแรงงาน (1)

นอกจากจะมีพื้นที่ความคิดคุยกันในเรื่องความยุติธรรมด้านสิทธิแรงงานในเว็บไซต์ของมูลนิธิอารมณ์ พงศ์พงันแล้ว นับแต่นี้ต่อไปก็จะมีพื้นที่ความคิดเพิ่มขึ้น โดยจะคุยกันในลักษณะคลินิกกฎหมายด้านแรงงาน

การเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมเพื่อแรงงาน

การเปลี่ยนแปลง หรือการเปลี่ยนผ่านต้องมีแผนและนโยบาย คนงาน การเปลี่ยนแปลงไม่ได้แค่ลดปริมาณมลพิษในภาคอุตสาหกรรม แต่เป็นเรื่องของงานใหม่ในอุตสาหกรรมใหม่ ทักษะใหม่ การลงทุนใหม่ และโอกาสในการสร้างเศรษฐกิจให้เกิดความเสมอภาคและคล่องตัวมากขึ้น

เสวนาสิทธิ ความยุติธรรมและกฎหมายด้านแรงงาน : การเรียนรู้กฎหมายด้านแรงงานสำหรับ ผู้นำแรงงาน

ผู้เขียนเชื่อว่า หากผู้นำแรงงานหรือสร. หรือคณะกรรมการลูกจ้างได้ศึกษาเรียนรู้ข้อกฎหมายตามที่กล่าวมาอย่างต่อเนื่องจริงจัง ภายใต้กระบวนการการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม และมีการนำไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ก็จะบังเกิดประโยชน์ การเรียนรู้ และการเข้าถึงสิทธิและคุณภาพชีวิตที่ดีของคนงาน และเกิดมิติใหม่ของการเรียนรู้สิทธิทางกฎหมายด้านแรงงานขององค์กรแรงงาน อันจะเป็นประโยชน์ในการสร้างความเข้มแข็งขององค์กรแรงงานสืบไป

1 7 8 9 10 11 15